บันทึกการเดินทาง สู่การสร้างโรงเรียนเชิงบวก ตอนที่ 2 (Road to Positive Psychology in School Part 2)
บันทึกการเดินทาง สู่การสร้างโรงเรียนเชิงบวก ตอนที่ 2 การเดินทางในครั้งนี้ เริ่มต้นด้วยการชวนให้ครูทุกท่านแบ่งปันเรื่องราว ความรู้สึกในขณะที่ได้ไปสังเกต สัมภาษณ์ เก็บข้อมูล เกี่ยวกับ “จุดแข็ง (Character Strengths)”1 ของนักเรียนแต่ละคนในห้องเรียน ว่าเป็นอย่างไรบ้าง ในช่วงเดือนกว่าๆที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นภารกิจร่วมกันของคุณครูทุกระดับชั้น และทุกห้องเรียน โดยวิธีการและเกณฑ์ในการมองหาจุดแข็งของนักเรียน เราให้คุณครูเป็นผู้ออกแบบเกณฑ์เหล่านั้นเอง …
Read Moreบันทึกการเดินทาง สู่การสร้างโรงเรียนเชิงบวก ตอนที่ 1 (Road to Positive Psychology in School Part 1)
การพัฒนาโรงเรียนให้เป็นพื้นที่เชิงบวก เป็นมิตร สำหรับเด็ก เยาวชนนั้นคงเป็นเป้าหมายสำคัญในหลายสถาบันการศึกษา และที่ผ่านมาได้มีการออกแบบกระบวนการทำงานเพื่อเสริมสร้างให้โรงเรียนสามารถทำหน้าที่เหล่านี้ในหลากหลายรูปแบบ จิตวิทยาเชิงบวก (Positive Psychology) ก็เป็นอีกชุดความรู้หนึ่งที่ทำงานเพื่อสร้างให้เกิดความงอกงาม (Flourishing) ในตัวคน ตลอดช่วงกว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมาของการพัฒนาหลักฐานเชิงประจักษ์จากการนำแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกไปใช้เพื่อพัฒนาองค์กร สถาบันการศึกษา หน่วยงานรัฐและเอกชนมากมายทั่วโลก ได้พิสูจน์ให้เห็นถึง “พลัง” ของการทำงานด้วยหลักคิดของ จิตวิทยาเชิงบวก …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 8 : เสริมพลัง(Empower)พ่อแม่ลูก
. “ครอบครัว โรงเรียน และการเสริมพลัง” . วิถีของโรงเรียนโดยส่วนใหญ่ของประเทศไทย ได้กำหนดให้การพบปะพูดคุยกับครอบครัวเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญ ที่ต้องเกิดขึ้น ผ่านกระบวนการพบปะในวันปฐมนิเทศนักเรียน วันพบผู้ปกครองเพื่อรับเกรด วันที่ครูเยี่ยมบ้าน และวันที่เด็กทำผิดต่อกฎระเบียบของโรงเรียน…คำถามคือ การพบปะพูดคุยกับครอบครัว ในวัน หรือสถานการณ์ต่างๆข้างต้น…ครูและครอบครัว รวมถึงเด็ก พูดคุยเรื่องอะไรกันบ้าง เสริมพลังอะไรกันบ้างหรือไม่… . กระบวนการในครั้งที่ …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 7 : สวัสดีหลุมดำ
. “ความสุ่มเสี่ยงอะไรบ้างที่อยู่รอบตัวเรา…และอาจพาให้เราตกลงไปในหลุมดำ” . ชีวิต คือ องค์ประกอบของการเดินทาง บางครั้งมีทุกข์ บางครั้งมีสุข บางครั้งมีสำเร็จ บางครั้งมีพลาดพลั้ง ชีวิตที่สมบูรณ์แบบดำเนินไปโดยโรยด้วยกลีบกุหลาบไม่ได้มีอยู่จริง…เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว วัยรุ่นในฐานะผู้ที่ “กำลังเริ่มต้น” ตัดสินใจเลือกทางเดินของชีวิตเหล่านั้น เขามีพื้นที่ของการเรียนรู้ที่ปลอดภัยมากน้อยเพียงใดในปัจจุบัน พื้นที่ที่จะคอยปรบมือเมื่อเขาทำสำเร็จ ปลอบโยนเมื่อเขาแพ้พ่าย ให้อภัยเมื่อเขาพลาดพลั้ง… . …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 6 : ทางรอดบนความขาดพร่อง
. “ระหว่างสิ่งที่หายไป…กับสิ่งที่เหลืออยู่ เราจะให้คุณค่ากับสิ่งใดเพื่อให้เราเป็นผู้รอด” . การที่ คนหนึ่งคน จะสามารถพูดหรือเขียนบอกเล่าเรื่องราวปัจจัยอันเป็นสาเหตุของปัญหาชีวิตของตนเอง ผ่านภาษาได้นั้น เขาเหล่านั้นจำเป็นต้องมองเห็นภาพห่วงโซ่ของปัญหา มีชุดคำชุดภาษาที่เพียงพอในการคิดเชื่อมโยงกลับมาสู่บริบทของตัวเอง เพื่ออธิบายความรู้สึกสู่ผู้รับสาร ให้สามารถคลี่ภาพปัจจัยที่แท้จริงออกมาได้ ซึ่งทั้งหมดนี้ตั้งอยู่บนเงื่อนไขของความไว้เนื้อเชื่อใจ และบรรยากาศที่ปลอดภัย ปราศจากการตัดสินผิดถูก ชั่วดี มีเพียงข้อมูล ข้อเท็จจริง เท่านั้น . …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 5 : ข่าวลบๆ…แต่ขยายบวกได้
. “จุดต่อจุด…สู่การสร้างภาพทางเพื่อเสริมภูมิคุ้มกันความคิด” . หลายต่อหลายครั้งที่การทำงานด้านการป้องกันปัจจัยเสี่ยง ถูกเน้นหนักไปในทางรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักในพิษภัยของปัจจัยเสี่ยงต่างๆแบบตรงๆ ทื่อๆ ว่าสิ่งนี่ไม่ดีอย่างนั้น สิ่งนั้นไม่ดีอย่างนี้ ซึ่งทางหนึ่งอาจส่งผลที่ดีในการสร้างความตระหนัก แต่อีกทางหนึ่งการทำงานทางความคิดเพื่อให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ และตกผลึก อาจไม่เกิดขึ้นด้วยวิธีนี้ วันนี้ วิชาชีวิต ได้นำเอาเรื่องราว จากเรื่องจริงบนหน้าข่าวเกี่ยวกับ การเมายาแก้ไขของนักเรียนโรงเรียน ซึ่งเป็น …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 4 : เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
“ถ้าเราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง…อะไรที่เราคิดว่า จะมีส่วนทำให้เด็กบางคนถูกทิ้งไว้ข้างหลัง” สถานการณ์การทำร้ายกันทั้งทางร่างกาย และด้านจิตใจกันในห้องเรียน กำลังทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทั้งในต่างประเทศ และประเทศไทย ซึ่งความรุนแรงเหล่านี้ถูกแปลงออกมาเป็นปัญหาที่ใหญ่ และซับซ้อนมากขึ้นเมื่อผู้ใหญ่มองไม่เห็น และไม่ได้ทำอะไรกับสถานการณ์ตรงหน้าของเด็กๆ ในบางครั้งการแกล้งกันในชั้นเรียน ได้นำความสูญเสียที่ยิ่งใหญ่มาสู่ครอบครัวและใครอีกหลายคน…เกินกว่าที่ใครจะคาดคิด ทั้งการฆ่าตัวตาย การฆ่าเพื่อน ฯลฯ วันนี้ วิชาชีวิต ได้นำพาร่องรอยของเด็กชายคนหนึ่งที่อายุเพียง 13 ปี กำลังเรียนอยู่ในโรงเรียนที่ดูเหมือนว่าจะปลอดภัย …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 3 : ใครเดินทางไปกับเราบ้าง
“การประจานเด็ก ทำให้เด็กรู้สึกอับอาย…เมื่อมนุษย์ถูกทำให้ยางอายหายไป การกระทำความผิดก็จะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ง่ายสำหรับพวกเขา” หลายครั้งการทำงานในห้องเรียน เพื่อสร้างความตระหนักในห่วงโซ่ของความเสียหายในการกระทำ ตั้งแต่เรื่องความรุนแรง การเสพติดเชิงพฤติกรรมรูปแบบต่างๆ ถูกถ่ายทอด ยัดเยียดในรูปแบบของการส่งสารด้วย คำที่แข็งแรง มาตรฐานทางจริยธรรมที่ไม่เหลือพื้นที่ให้ขยับตัว ให้เรียนรู้ ให้ได้มีพื้นที่ก้าวพลาด พื้นที่การขอโทษ พื้นที่การให้อภัยที่จริงใจ การจัดกระบวนการวิชาชีวิต ณ โรงเรียนวัดคู้บอน ภายใต้โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (ชนะใจ) …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 2 : พลังเด็กเปลี่ยนโลก
การถอดรองเท้า ความใส่ใจต่อรายละเอียด และการสร้างความเป็นไปได้ใหม่กับนักเรียนผู้เป็นพลัง วันนี้เป็นครั้งแรกของโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อการนำกระบวนการวิชาชีวิต บ้านกาญจนาภิเษก สู่บริบทใหม่ ณ โรงเรียน พื้นที่ของเด็กต้นน้ำ…ผู้รับผลจากการศึกษาไทย ทีมป้ามล คุณครู น้องๆบ้านกาญจนาภิเษก ร่วมกับทีมโครงการชนะใจ มูลนิธิวายไอวาย ได้เริ่มต้นจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับเด็กนักเรียน ในหัวข้อแรก คือ พลังเด็กเปลี่ยนโลก มุ่งเน้นการทำให้เด็กรู้สึกถึงความเป็นไปได้ของตัวเอง …
Read Moreการเดินทางของวิชาชีวิต สู่โรงเรียนวัดคู้บอน ตอนที่ 1 : เตรียมตัวครู
จากวิชาชีวิต สู่การสร้าง Child Friendly School การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การพัฒนานวัตกรรมการจัดการพฤติกรรมการเสพติดในกลุ่มเยาวชน หรือ โครงการชนะใจเกิดจาก ความร่วมมือระหว่าง Life Education (Thailand) และ มูลนิธิวายไอวาย ร่วมกับศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน(ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก โดยได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) …
Read More